โปรแกรมตรวจภูมิแพ้เฉียบพลัน 36 รายการ - บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก
รายละเอียดแพ็กเกจ
รายการตรวจ:
Environment 14 Allergens:
- หญ้า 3 Allergens
- สัตว์เลี้ยง 3 Allergens
- ไรฝุ่น 2 Allergens
- แมลงสาบ 2 Allergens
- เชื้อรา 3 Allergens
- ยาง 1 Allergen
Food 22 Allergens:
- ไข่ และโปรตีนในไข่ขาว 4 Allergens
- นมวัว และโปรตีน ในนมวัว 4 Allergens
- อาหารทะเล 7 Allergens
- แป้งสาลี และโปรตีน ในแป้งสาลี 2 Allergens
- ถั่วลิสง และโปรตีน ในถั่วลิสง 3 Allergens
- ถั่วเหลือง 1 Allergen
- มะพร้าว 1 Allergen
รายละเอียดการให้บริการ
- ระยะเวลาในการให้บริการ : 30 นาที
- ระยะเวลาเจาะเลือดประมาณ 5-10 นาที
- ระยะเวลารอผลการตรวจประมาณ 7-10 วัน
- แพทย์จะนัดเข้าพบอีกครั้งหลังจากผลตรวจออกซึ่งใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง
- ปรึกษานักกายภาพบำบัดฯ
การเตรียมตัวก่อนใช้บริการ:
- ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
- ควรสวมเสื้อที่ถอดง่าย สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน
- หากมีผลตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดให้นำมาด้วย
- หากมียา วิตามิน หรือสมุนไพร ที่ทานเป็นประจำ ควรนำมาด้วยหรือจดบันทึก/ถ่ายรูปฉลากมาแทนได้
- ไม่ต้องงดน้ำ งดอาหาร
ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ:
- หากเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง สามารถเข้ารับบริการได้เลย
- ไม่ต้องงดยาแก้แพ้ หรือยาใด ๆ ก่อนตรวจ
ข้อมูลทั่วไป:
- การแพ้อาหาร (Food allergy) เป็นปฏิกิริยาที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายตอบสนองต่ออาหารบางชนิดแบบผิดปกติ ทำให้มีอาการแพ้เกิดขึ้นเมื่อได้รับอาหารชนิดนั้นๆ โดยสามารถเกิดอาการแพ้อาหารได้เกือบทุกชนิดและไม่อาจคาดเดาระดับความรุนแรงของอาการแพ้ได้ จึงควรเรียนรู้วิธีสังเกตอาการ วิธีหลีกเลี่ยงอาหารที่แพ้ และการรักษาเพื่อให้รับมือได้อย่างถูกต้อง
อาการแพ้อาหารที่พบบ่อย:
- บวมตามใบหน้า รอบดวงตา ริมฝีปาก ลิ้น และในลำคอ
- กลืนอาหารลำบาก
- หายใจลำบาก หายใจติดขัด
- เวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม
- คลื่นไส้อาเจียน
- ท้องเสียรุนแรง
- หมดสติ
วิธีการทดสอบการแพ้อาหาร :
- สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่
- ทดสอบการแพ้แบบ Open blind คือผู้เข้ารับการทดสอบและแพทย์ผู้ดูแลทราบชนิดอาหารที่จะทำการทดสอบ เป็นการทดสอบการแพ้อาหารที่ใช้บ่อยและสะดวก
- ทดสอบการแพ้แบบ Single blind คือผู้เข้ารับการทดสอบไม่ทราบว่าทดสอบด้วยอาหารชนิดใด มีเพียงแพทย์หรือผู้ดูแลการทดสอบเท่านั้นที่ทราบ
- ทดสอบการแพ้แบบ Double blind คือผู้เข้ารับการทดสอบและแพทย์หรือผู้ดูแลไม่ทราบว่าวันใดคืออาหารจริง (มีอาหารที่ต้องการทดสอบซ่อนไว้) วันใดคืออาหารหลอก (ไม่มีอาหารที่ต้องการทดสอบในนั้น) เพื่อลดอคติในการทดสอบ วิธีนี้เป็นวิธีที่ได้มาตรฐานที่สุด มักใช้ในการวิจัยหรือกรณีที่ผู้ป่วยกลัวการรับประทานอาหารที่สงสัย
การเตรียมตัวก่อนมาทดสอบการแพ้อาหาร:
- ผู้เข้ารับการทดสอบต้องไม่มีอาการเจ็บป่วยภายใน 7 วัน ก่อนวันเข้ารับการทดสอบ
- เปิดทำการทุกวัน วันจันทร์-อาทิตย์ 09.00-18.00 น. (รับคิวสุดท้าย 17.00 น.)
- 22/22 ถ. รัชดา-รามอินทรา แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230
- แผนที่ https://goo.gl/maps/39z4o45AZGbCGWKL8
- มีที่จอดรถหน้าคลินิก