โปรแกรมตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน สำหรับผู้ที่มีอายุ 7 ปีขึ้นไป - บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก
รายละเอียดแพ็กเกจ
1. ตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน Basic ┃สำหรับผู้หญิง และ ผู้ชาย
รายการตรวจ 6 รายการตรวจดังนี้
- ตรวจวัดฮอร์โมนโทสเตอโรน (ฮอร์โมนเพศชาย) Testosterone
- ตรวจวัดฮอร์โมนเอสโตรเจน (ฮอร์โมนเพศหญิง) Estradiol(E2) / Estrogen
- ตรวจการทำงานของตับ AST
- ตรวจการทำงานของตับ ALT
- ปรึกษาและตรวจร่างกาย โดยแพทย์ผู้ชำนาญการ Physical Examination
- ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย 8 ระบบ Bio Body Scan
• ค่าบริการ
-----------------------------------------------------------------------------------
2. ตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน Sex Hormones ┃สำหรับผู้หญิง และ ผู้ชาย
รายการตรวจ 7 รายการตรวจดังนี้
- ฮอร์โมนหญิงเอสโตรเจน (Estradiol Hormone: E2)
- ฮอร์โมนควบคุมการตกไข่/ควบคุมสร้างอสุจิ (Follicle Stimulating Hormone: FSH)
- โปรตีนที่จับกับฮอร์โมนเพศ (Sex Hormone Binding Globulin: SHBG)
- ฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่/อัณฑะ (Luteinizing Hormone: LH)
- ฮอร์โมนเพศหญิงที่สร้างจากรังไข่ (Progesterone Hormone)
- ฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone Hormone)
- ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตและการสร้างฮอร์โมนเพศ (Dehydroepiandrosterone Sulfate: DHEAs)
• ค่าบริการ
• ค่าพร้อมปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Doctor Consultant)
--------------------------------------------------------------------------------------
3. ตรวจระดับสมดุลฮอร์โมน Full Hormones ┃สำหรับผู้หญิง และ ผู้ชาย
รายการตรวจ 15 รายการตรวจดังนี้
- ฮอร์โมนหญิงเอสโตรเจน (Estradiol Hormone: E2)
- ฮอร์โมนควบคุมการตกไข่/ควบคุมสร้างอสุจิ (Follicle Stimulating Hormone: FSH)
- โปรตีนที่จับกับฮอร์โมนเพศ (Sex Hormone Binding Globulin: SHBG)
- ฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่/อัณฑะ (Luteinizing Hormone: LH)
- ฮอร์โมนเพศหญิงที่สร้างจากรังไข่ (Progesterone Hormone)
- ฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone Hormone)
- ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตและการสร้างฮอร์โมนเพศ (Dehydroepiandrosterone Sulfate: DHEAs)
- ฮอร์โมนความเครียด (Cortisol)
- การทำงานของโกรทฮอร์โมน (IGF-1 )
- การทำงานของโกรทฮอร์โมน (IGFBP-3)
- ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ (Thyroid Stimulating Hormone: TSH)
- ฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid Function Test (FT4))
- ฮอร์โมนไทรอยด์( Free Triodothyonine (FT3))
- ฮอร์โมนโปรแลคติน (Prolactin)
- ฮอร์โมนอินซูลินที่ควบคุมระดับน้ำตาล (Insulin)
• ค่าบริการ
• ค่าพร้อมปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Doctor Consultant)
รวม ตรวจสแกนอวัยวะภายในร่างกาย ด้วยเครื่อง EIS 8 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
- ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด
- ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ
- ตรวจสแกนระบบขับถ่าย และระบบสืบพันธุ์
- ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ
- ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ
- ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร
- ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง
- ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร
ข้อมูลการตรวจ
- ผู้ที่มีอายุ 7 ขึ้นไป สามารถรับบริการได้
- ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
- ระยะเวลารอผลประมาณ 1 วัน ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้เข้ารับบริการ
- ผลตรวจจะจัดส่งให้ทางอีเมล
เงื่อนไขการเข้ารับบริการ
- ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
- ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน
การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
- งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมงก่อนเข้ารับบริการ
- งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด ก่อนตรวจสุขภาพอย่างน้อย 24 ชั่วโมง
- นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6-8 ชั่วโมง
- ควรสวมเสื้อผ้าหลวมๆ สบายตัว เพื่อความสะดวกในการตรวจ ควรเป็นเสื้อผ้าแบบชุดคนละท่อน และไม่สวมเสื้อชั้นในแบบเต็มตัว
- สำหรับผู้หญิง หากกำลังตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนตรวจ
ข้อมูลทั่วไป
- ฮอร์โมน คือ สารเคมีที่ทำหน้าที่เป็นตัวสื่อสารและควบคุมกระบวนการทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกาย โดยจะถูกสร้างจากกลุ่มเซลล์ในต่อมไร้ท่อ แล้วไปยังอวัยวะเป้าหมายผ่านทางกระแสเลือด
การตรวจระดับฮอร์โมน
- เป็นการตรวจวัดระดับฮอร์โมน เพื่อดูว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ หรือมีความผิดปกติอย่างไร โดยจะตรวจจากตัวอย่างเลือด น้ำลาย หรือปัสสาวะ ขึ้นอยู่กับชนิดของฮอร์โมนที่ต้องการตรวจ
ระดับฮอร์โมนผิดปกติ มีอาการอย่างไร?
ฮอร์โมนแต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกัน หากร่างกายมีระดับของฮอร์โมนตัวใดตัวหนึ่งไม่สมดุล มากหรือน้อยเกินไป อาจเกิดภาวะหรืออาการแสดงที่ผิดปกติบางอย่าง ขึ้นอยู่กับชนิดของฮอร์โมนที่มีความผิดปกตินั้น เช่น
- อารมณ์แปรปรวน รู้สึกเครียด ความรู้สึกทางเพศลดลง
- น้ำหนักเพิ่มหรือลดผิดปกติโดยไม่มีสาเหตุ การเผาผลาญพลังงานไม่ดี ไม่อยากอาหาร
- อ่อนเพลีย อ่อนแรง เหนื่อยง่าย ปวดเมื่อย ข้อบวม หน้าบวม
- รู้สึกหนาวหรือร้อนผิดปกติ
- ผมร่วง ผิวแห้ง ผื่นขึ้น เป็นสิว
- มีปัญหาเกี่ยวกับอัตราการเต้นของหัวใจ เช่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ
- มีปัญหาการนอนหลับ
- ผู้หญิงมีประจำเดือนมาไม่ปกติ ปวดท้องประจำเดือน
ความสำคัญของฮอร์โมนชนิดต่างๆ
- ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ช่วยในการนำน้ำตาลเข้าเซลล์เพื่อไปใช้ให้พลังงาน
- ฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH, T3, T4) ทำหน้าที่ควบคุมหลายระบบในร่างกาย เช่น ควบคุมน้ำหนักและการเผาผลาญพลังงานของเซลล์ ช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย เกี่ยวข้องกับการสร้างผิว ผม และเล็บ เป็นต้น
- ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต (Cortisol, Aldosterone, DHEA) ช่วยกำจัดความเครียด ควบคุมสมดุลแร่ธาตุในร่างกาย กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
- ฮอร์โมนเสริมสร้างและช่วยในการเจริญของเซลล์ (Growth Hormone, IGF-1) เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึม การเจริญเติบโต และการฟื้นฟูของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย
- ฮอร์โมนเพศ (Estradiols, Progesterone, LH, FSH, Testosterone) ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายและการทำงานของระบบสืบพันธุ์
- เปิดทำการทุกวัน วันจันทร์-อาทิตย์ 09.00-18.00 น. (รับคิวสุดท้าย 17.00 น.)
- 22/22 ถ. รัชดา-รามอินทรา แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230
- แผนที่ https://goo.gl/maps/39z4o45AZGbCGWKL8
- มีที่จอดรถหน้าคลินิก