โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนฉีด Cell Therapy สำหรับผู้ชาย-ผู้หญิง - บางกอก เวลเนส เมดิคัล คลินิก
รายละเอียดแพ็กเกจ
ตรวจสุขภาพก่อนฉีด Cell Therapy ตรวจสุขภาพผู้ชาย 49 รายการ l ผู้หญิง 50 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
- ตรวจการแข็งตัวของเลือด (PTT)
- ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC)
- ตรวจอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (ESR)
- คัดกรองภาวะพร่องเอนไซม์ (G6PD)
- ตรวจระดับน้ำตาลสะสม (HbA1C)
- ตรวจค่าอินซูลิน (Insulin)
- ตรวจระดับคอเลสเตอรอลในเลือด (Total Cholesterol)
- ตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride)
- ตรวจระดับไขมันดี (HDL-Cholesterol)
- ตรวจระดับไขมันไม่ดี (LDL-Cholesterol)
- ตรวจการทำงานของไต (BUN)
- ตรวจคัดกรองภาวะโรคไต (Creatinine)
- ตรวจคัดกรองภาวะโรคเกาต์ (Uric Acid)
- ตรวจปริมาณโปรตีนรวมในกระแสเลือด (Total Protein)
- ตรวจสารโปรตีนไข่ขาว (Albumin)
- ตรวจสารโปรตีนโกลบูลิน (Globulin)
- ตรวจเอนไซม์ตับ (SGOT หรือ AST)
- ตรวจเอนไซม์ตับ (SGPT หรือ ALT)
- ตรวจภาวะดีซ่าน (Direct Bilirubin)
- ตรวจภาวะดีซ่าน (Total Bilirubin)
- ตรวจดูภาวะอักเสบของร่างกาย (hs-CRP)
- ตรวจภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ (Homocysteine)
- ตรวจคัดกรองมะเร็งตับ (AFP)
- ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ (CEA)
- ตรวจคัดกรองมะเร็งตับอ่อน (CA 19-9)
- ตรวจคัดกรองมะเร็งรังไข่ (CA 125) (ญ)
- ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (CA 153) (ญ)
- ตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก (Free PSA, Total PSA, Ratio M) (ช)
- ตรวจดูการเก็บเหล็กในร่างกาย (Ferritin Serum)
- ตรวจปัสสาวะแบบสมบูรณ์ (Urine Analysis)
- ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (Free T3)
- ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (Free T4)
- ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH)
- ตรวจฮอร์โมนเพศหญิงเอสตราไดออล (Estradiol: E2)
- ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างไข่และไข่สุกในเพศหญิง (FSH) (ญ)
- ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นการไข่ตกในเพศหญิง (ญ)
- ตรวจฮอร์โมนกระตุ้นให้อัณฑะสร้างฮอร์โมนเพศชาย (ช)
- ตรวจฮอร์โมนเพศชายฟรีเทสโทสเตอร์โรน (Free Testosterone)
- ตรวจสารตั้งต้นฮอร์โมนเพศ (DHEAS)
- ตรวจปริมาณโปรตีนที่จับกับฮอร์โมน (SHBG)
- ตรวจหาค่าตะกั่วในเลือด (Lead: Pb)
- ตรวจภูมิแพ้ตนเอง (ANA Profile)
- ตรวจการแข็งตัวของเลือด (PT INR)
- ปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการ (Doctor Consultant)
ฟรี! ปรึกษานักกายภาพบำบัด (Physical Consultation)
ตรวจการทำงานของร่างกายด้วยเครื่อง EIS 8 รายการดังนี้
- ตรวจสแกนระบบหัวใจและหลอดเลือด ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบต่อมไร้ท่อ ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์ ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบสั่งการของประสาทและกล้ามเนื้อ ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบทางเดินหายใจ ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบการย่อยอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบประสาทและสมอง ด้วยเครื่อง EIS
- ตรวจสแกนระบบการเผาผลาญอาหาร ด้วยเครื่อง EIS
ระยะเวลาการให้บริการ
- ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที
- ทราบผลการตรวจประมาณ 7-14 วันหลังรับบริการ
ข้อควรรู้ก่อนเข้ารับการตรวจ
- ควรนัดหมายล่วงหน้า
- ผู้รับบริการจะต้องเข้ามาพบแพทย์และผู้ชำนาญการ ทั้งหมด 2 ครั้ง
- ครั้งที่ 1 เจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือ เพื่อส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการพิเศษ และตรวจสแกนร่างกาย 8 ระบบ ด้วยเครื่อง EIS
- ครั้งที่ 2 ฟังการวิเคราะห์ผลเลือดและปรึกษาแพทย์ (ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)
- เครื่องสแกน Electro Interstitial (EIS) เป็นอุปกรณ์การถ่ายภาพทางการแพทย์ ใช้ในการตรวจดูการทำงานของเซลล์ในแต่ละอวัยวะ ทำให้เห็นภาวะผิดปกติ ระดับความเสื่อม และแนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นตามหลักการสรีรวิทยา
- หากมีการดามเหล็กในร่างกาย หรือทำบอลลูนหัวใจ จะไม่สามารถตรวจร่างกายในส่วนของการสแกนร่างกายได้
- ชาวต่างชาติสามารถเข้ารับบริการได้ โดยต้องใช้พาสปอร์ตเพื่อยืนยันตัวตน
การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
- ควรนอนพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนตรวจ
- งดเครื่องดื่มและอาหารอย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ จิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย
- งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
- ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน
- หากมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
- ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่หรือแพทย์ทราบหากสงสัยว่ากำลังตั้งครรภ์
- ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่หรือแพทย์ทราบหากกำลังมีประจำเดือน
ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ
- โรคหรืออาการบางอย่างอาจตรวจไม่พบจากการตรวจสุขภาพทั่วไป หากมีความกังวลด้านใดเป็นพิเศษ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่หรือแพทย์ทราบก่อน แพทย์อาจแนะนำให้ตรวจเพิ่มเติมโดยใช้วิธีหรือเครื่องมือเฉพาะ
- หากมีโรคประจำตัว ยาที่รับประทานเป็นประจำ หรือมีประวัติสุขภาพอื่นๆ ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่หรือแพทย์ทราบด้วย
- หากผลการตรวจสุขภาพ ไม่บ่งชี้สัญญาณผิดปกติใดๆ ก็ควรดูแลสุขภาพให้ดีตามปกติ เช่น ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ พักผ่อนให้เพียงพอ
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพ
- การตรวจสุขภาพ เป็นการตรวจคัดกรองเบื้องต้นในผู้ที่ยังไม่มีอาการผิดปกติใดๆ หรือเริ่มพบสัญญาณความผิดปกติเกิดขึ้น เพื่อประเมินความเสี่ยงหรือค้นหาโรคที่ยังไม่ปรากฏอาการแน่ชัด เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน เป็นต้น
- การพบโรคแต่เนิ่นๆ จะช่วยลดความรุนแรง เพิ่มโอกาสในการรักษา และลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวได้
เริ่มตรวจสุขภาพได้ตั้งแต่อายุเท่าไร?
- สำหรับบุคคลทั่วไปสามารถเริ่มตรวจสุขภาพได้ตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป แต่หากมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและไม่ได้อยู่ในกลุ่มเสี่ยง เช่น มีน้ำหนักเกิน เป็นโรคอ้วน บุคคลในครอบครัวมีโรคประจำตัวที่อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรม อาจเริ่มตรวจสุขภาพหลังจากอายุ 15 ปีก็ได้เช่นกัน
หมายเหตุ
- โปรแกรมตรวจสุขภาพแต่ละโปรแกรม มีรายการตรวจที่แตกต่างกัน ซึ่งเหมาะกับช่วงวัย เพศ หรือประวัติสุขภาพที่แตกต่างกัน ควรศึกษาข้อมูลโดยละเอียด เพื่อเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพที่เหมาะสมที่สุด
- เปิดทำการทุกวัน วันจันทร์-อาทิตย์ 09.00-18.00 น. (รับคิวสุดท้าย 17.00 น.)
- 22/22 ถ. รัชดา-รามอินทรา แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230
- แผนที่ https://goo.gl/maps/39z4o45AZGbCGWKL8
- มีที่จอดรถหน้าคลินิก